ระบบ CEDI ที่ใช้ผลิตน้ำบริสุทธิ์ ในโรงงานอุตสาหกรรม
ผู้เขียน Aekavit Boonmuen
CEDI (อ่านว่า ซี - อี - ดี -ไอ )
Continuous Electro Deionization
หลักๆ ต้องมี
1. Ion Exchange membrane
2. Ion Exchange resin
3. Electricity
2. Ion Exchange resin
3. Electricity
.
🚩
ส่วนหัวและท้ายเครื่องจะมีขั้วไฟฟ้า
กระแสตรงขั้วบวก (+) และขั้วลบ (-)
ส่วนหัวและท้ายเครื่องจะมีขั้วไฟฟ้า
กระแสตรงขั้วบวก (+) และขั้วลบ (-)
.
ขั้้วบวก (Anode) (อ่านว่า แอ-โหนด)
ขั้วลบ (Cathode) (อ่านว่า แค-โถด)
ขั้วลบ (Cathode) (อ่านว่า แค-โถด)
.
ตัวเครื่อง นอกจากมีขั้วไฟฟ้าแล้ว
จะมีแผ่นพลาสติกชนิดหนาและบาง
ประกบซ้อนสับหว่างกันไปเรื่อยๆ
จากขั้วหนึ่ง... ไปยังอีกขั้วหนึ่ง
จะมีแผ่นพลาสติกชนิดหนาและบาง
ประกบซ้อนสับหว่างกันไปเรื่อยๆ
จากขั้วหนึ่ง... ไปยังอีกขั้วหนึ่ง
➡️ ระหว่างพลาสติกทั้งสองชนิดนั้น
จะมีเยื่อเลือกหรือยอมให้ ion ผ่านได้
เรียกว่า ion exchange membrane
ซึ่งมี 2 ชนิด นั่นคือ
จะมีเยื่อเลือกหรือยอมให้ ion ผ่านได้
เรียกว่า ion exchange membrane
ซึ่งมี 2 ชนิด นั่นคือ
- เยื่อที่ยอมให้ ion บวก ผ่านได้
- เยื่อที่ยอมให้ ion ลบ ผ่านได้
- เยื่อที่ยอมให้ ion ลบ ผ่านได้
.
จากการที่หัว/ท้ายเครื่อง มีขั้วไฟฟ้า
ก็จะเกิดสนามไฟฟ้า (Electric field)
ตกคร่อมระหว่างขั้วไฟฟ้า ทำให้เกิด
การผลัก ion ซึ่งปะปนอยู่ใน H2O 💦
ก็จะเกิดสนามไฟฟ้า (Electric field)
ตกคร่อมระหว่างขั้วไฟฟ้า ทำให้เกิด
การผลัก ion ซึ่งปะปนอยู่ใน H2O 💦
.
🤔 นึกภาพตาม ... น้ำ💦 ก่อนการกรอง
หรือที่เรียกว่า Feed water คือของเหลว
ซึ่งไม่ได้มีแค่ H2O เพียวๆ เพราะถ้าเพียว
ก็ไม่ต้องกรองจริงปะ 😆
หรือที่เรียกว่า Feed water คือของเหลว
ซึ่งไม่ได้มีแค่ H2O เพียวๆ เพราะถ้าเพียว
ก็ไม่ต้องกรองจริงปะ 😆
นั่นก็คือน้ำ ยังมีประจุอื่นๆ เช่น Na, Ca,
Mg, Fe, Br, Ba, Cl, K, บลาๆๆ ว่ากันไป
ปะปนหรืออาจละลายได้ (dissolve) ในน้ำ
Mg, Fe, Br, Ba, Cl, K, บลาๆๆ ว่ากันไป
ปะปนหรืออาจละลายได้ (dissolve) ในน้ำ
.
✅✅ ในส่วนการทำงานนั้น ...
การป้อน Feed water 💦 จะเป็นการ
ป้อนจากด้านบน (Top) กรองลงด้านล่าง
(Bottom) จนได้น้ำที่มีค่าความนำไฟฟ้าต่ำ
ป้อนจากด้านบน (Top) กรองลงด้านล่าง
(Bottom) จนได้น้ำที่มีค่าความนำไฟฟ้าต่ำ
ในขณะเดียวกันน้ำที่มีความเข้มข้นสูง
จะถูกขับไล่ด้วยน้ำชนิดเดียวกันกับ
น้ำป้อน Feed water หรือ มักจะเรียกว่า
Reject water inlet ใช้เพื่อขับไล่น้ำที่มี
ความเข้มข้นสูงจากบนลงล่างเช่นกัน
จะถูกขับไล่ด้วยน้ำชนิดเดียวกันกับ
น้ำป้อน Feed water หรือ มักจะเรียกว่า
Reject water inlet ใช้เพื่อขับไล่น้ำที่มี
ความเข้มข้นสูงจากบนลงล่างเช่นกัน
.
🙂 สำหรับสนามไฟฟ้า ⚡ ที่หัวและท้าย
จะก่อให้เกิดการ drive หรือผลักดัน ให้...
จะก่อให้เกิดการ drive หรือผลักดัน ให้...
- ประจุบวกวิ่งไปยังขั้วลบ
- ประจุลบวิ่งไปยังขั้วบวก
- ประจุลบวิ่งไปยังขั้วบวก
ปล. * ประจุบวก (Cat ion)
อ่านว่า แคท-ไอ-อ้อน
จะวิ่งเข้าหาขั้ว Cathode
อ่านว่า แคท-ไอ-อ้อน
จะวิ่งเข้าหาขั้ว Cathode
* ประจุลบ (Ann ion)
อ่านว่า แอน-ไอ-อ้อน
จะวิ่งเข้าหาขั้ว Anode
.
อ่านว่า แอน-ไอ-อ้อน
จะวิ่งเข้าหาขั้ว Anode
.
แต่.... มันไม่ได้มีแค่นี้หละสิ .... 😂
เพราะผลจากสนามไฟฟ้า⚡ ข้างต้น
แม้จะผลักประจุ (ion) ก็จริงอยู่ .....
แต่ยังคงมี ion หลงเหลืออยู่ในน้ำ 💦
ทำให้ค่า EC ยังไม่ได้ตามที่ต้องการ
(คือ EC มันก็ต่ำแหละ... แต่ยังไม่สุด)
แม้จะผลักประจุ (ion) ก็จริงอยู่ .....
แต่ยังคงมี ion หลงเหลืออยู่ในน้ำ 💦
ทำให้ค่า EC ยังไม่ได้ตามที่ต้องการ
(คือ EC มันก็ต่ำแหละ... แต่ยังไม่สุด)
.
แล้วยังไงต่อ .... 🤔🤔
ระบบ CEDI นี้ จึงมีการใส่ ion exchange
membrane และ ion exchange resin
เพื่อช่วยอพยพไอออน (ion migrate)
ให้วิ่งไปตามเยื่อเลือกผ่าน
membrane และ ion exchange resin
เพื่อช่วยอพยพไอออน (ion migrate)
ให้วิ่งไปตามเยื่อเลือกผ่าน
และบริเวณส่วนล่างของเครื่อง ก็จะมีการ
self regenerate (ฟื้นฟู) ซึ่งไม่ต้องใช้เคมี
นี่ถือเป็นข้อดีของระบบ CEDI
self regenerate (ฟื้นฟู) ซึ่งไม่ต้องใช้เคมี
นี่ถือเป็นข้อดีของระบบ CEDI
.
ตรงนี้จะยากหน่อย ไว้ต่อตอนหน้านะ 📒
.
#ลองได้เรียนกับพี่ระบบนี้ง่ายนิดเดียว
#วิศวกรไฟฟ้า
บทความได้รับการอนุญาตเผยแพร่จากผู้เขียน
https://www.facebook.com/aekavit.boonmuen/posts/3096887630355744
#วิศวกรไฟฟ้า
บทความได้รับการอนุญาตเผยแพร่จากผู้เขียน
https://www.facebook.com/aekavit.boonmuen/posts/3096887630355744